วันจันทร์ที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2568

ศัพท์เกี่ยวกับการเรียน

อุคฺคห #ไม่เท่ากับ ศึกษา/เรียน ในภาษาปัจจุบัน.

สิกฺขา #ไม่เท่ากับ ศึกษา/เรียน ในภาษาปัจจุบัน.

ฟังแล้วเข้าใจ = ศึกษา/เรียน ในภาษาปัจจุบัน.

อุปสงฺกมิ =ไปเข้าค่าย / คอร์ส.

ปยิรุปาสติ = ไปฟังแล้วทรงจำ.

โสตาวธานํ = ฟังแล้วทรงจำ.

อุคคห = อุทฺเทสํ โสตาวธานํ (ฟังแล้วทรงจำหัวข้อ หรือ ถ้าจำไม่ได้ทันทีก็ท่องซ้ำๆ จนกว่าจะปรากฏที่ใจ).

ปริปุจฺฉา = อฏฺฐกถํ ปริปุจฺฉา (สอบถามเนื้อหาแห่งอุทเทสที่ท่องไว้).

สิกฺขา = ฝึกฝนกุศลจิตที่ประกอบด้วยปัญญา ด้วยการออกจากกามคุณ 5 และออกจากอกุศลธรรมที่เป็นไปในกามคุณ (เพราะกามคุณ 5 ที่กระทบทวารเป็นอัพยากตฝึกฝนไม่ได้ และอกุศลก็ฝึกฝนไม่ได้ เพราะเป็นไปในกามคุณ 5).

เล่มตำรา = กามคุณคือสี ที่กระทบจักขุทวาร.

ตัวอักษรที่ปรากฏทางสุทธมโนทวาร = อุคคหนิมิต.

เมื่อสังวรจักขุนทรีย์ในคันถปลิโพธ ด้วยการทรงจำทางสุทธมโนทวาร จิตจะถึงความไม่ซัดส่าย ยังให้เกิดอวิปฏิสาร ปราโมทย์ ปีติ ปัสสัทธิ สุข สมาธิ, หลังจากนั้นคันถธุระจึงจะง่าย เพราะไปต่อกรรมฐานอื่นๆก็ง่ายแล้ว.

วันเสาร์ที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2568

ความกตัญญู

คนที่ปฏิบัติไม่ถึงระดับ จะเข้าใจความกตัญญู

เป็นอัตตาตัวตนว่า "เขามีคุณเพราะเขาเคยกระทำแล้วให้เรา"

ซึ่งทำให้ความกตัญญูไม่มีความรอบคอบ

ไม่แยกแยะตรงกับสภาวะจริงๆ บ่อยๆ กตัญุตกรรม

ก็จะไม่ประกอบด้วยปัญญา มีผลน้อย,

แต่ถ้าปฏิบัติได้ถึงความบริสุทธิทั้ง 2 ฝ่าย

ความกตัญญูจะเป็นไปตามสภาวะในทักขิณาวิภังคสูตร คือ

สภาพที่เป็นคุณประโยชน์มากๆ ขึ้นไปมีเท่าไหร่

ถ้าผู้รับมีคุณธรรมพอจะระลึกถึงธรรมนั้น แม้ไม่เคยเจอ

ไม่เคยรับอะไรจากคนๆ นั้น ไม่เคยเจอสิ่งๆนั้นเลย

ก็เป็นการระลึกที่ยอดเยี่ยมกว่าการกตัญญู

ต่อผู้ที่มีคุณธรรมต่ำกว่าแม้เคยกระทำต่อกันเป็นพันๆ ครั้ง.

เหมือนพระนิพพาน ไม่เคยเจอเลย แต่พอระลึกถึงได้ครั้งหนึ่ง

กลับยอดเยี่ยมกว่าการให้ทานในสงฆ์.

หรืออย่างพระสารีบุตร ที่ระลึกถึงพระพุทธเจ้า บ่อยกว่าพ่อแม่ เป็นต้น.

วันอังคารที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2568

การร้องทำนองเพลงที่ใจนึกถึงธรรมะ สมควรอยู่, แต่การร้องธรรมะที่ใจนึกถึงทำนองเพลง ไม่สมควร

การร้องทำนองเพลงที่ใจนึกถึงธรรมะ สมควรอยู่, แต่การร้องธรรมะที่ใจนึกถึงทำนองเพลง ไม่สมควร
https://wiki.sutta.men/ฟุตโน้ต:541:99
---------------
อวิสูกภูตสฺส คีตสฺส สวนํ กทาจิ วฏฺฏติ ฯ ตถา หิ วุตฺตํ ปรมตฺถโชติกาย ขุทฺทกฏฺฐกถายํ ธมฺมูปสญฺหิโต คีโต วฏฺฏติ คีโตปสญฺหิโต ธมฺโม น วฏฺฏตีติ พฺรหฺมชาลจูฬหตฺถิปโทปมอุโปสถสุตฺตฏีกา ฯ
https://sutta.men/?th.r.541.100.2.0
อุปสญฺหิตํ แปลว่า ทำให้เป็นอารมณ์ ตาม สีลกฺขนฺธวคฺค,อฏฺฐกถา 335 ปณฺเณ อจิรวตีนทีอุปมากถา
https://sutta.men/?th.r.67.335…ปสญฺหิ#hl

ศัพท์เกี่ยวกับการเรียน

อุคฺคห #ไม่เท่ากับ ศึกษา/เรียน ในภาษาปัจจุบัน. สิกฺขา #ไม่เท่ากับ ศึกษา/เรียน ในภาษาปัจจุบัน. ฟังแล้วเข้าใจ = ศึกษา/เรียน ในภาษาปัจจุบัน. อุ...