วันพุธที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2562

โครงสร้างมรรคสัจจนิทเทสอรรถกถา

ในมัคคสัจจนิทเทสอรรถกถา:

ตั้งแต่ "ปฏิเวธกฺขเณ ปน เอกเมว ตํ ญาณํ โหติ" ขึ้นมา เป็น เอกปฏิเวเธเนว, หลังจากนั้นไป เป็นเอกาภิสมเยน.

เพราะปฏิเวธะด้วยสัมมาทิฏฐิ (ธมฺมสภาวปฏิเวธลกฺขณํ ปญฺญินฺทฺริยํ) แต่มีสัจจะถึง 4 ท่านจึงอธิบายว่า ปุพพภาคมรรคนั้นรู้มรรคไม่ครบ 4 แต่ในมรรคขณะนั้น ปฏิเวธะด้วยอริยมัคคสัมมาทิฏฐิดวงเดียวในมัคคจิตตุปบาท.

ส่วนอภิสมยญาณกถาในปฏิสัมภิทามรรค หมายถึง มัคคสมังคีจิตตุปบาท, ฉะนั้น เอกาภิสมเยน จึงหมายถึง การประชุมขององค์มรรคทั้ง 8 พร้อมกันในมรรคจิตตุปบาทเดียว (ตามพระบาลีในอภิสมยกถาเลย ครับ)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

รับตอบปัญหาธรรมะ ตามพระไตรปิฏก อรรถกถา ฏีกา
ท่านสอบถาม/แสดงความคิดเห็น/บอกข้อบกพร่องของบทความได้ที่ facebook: ตอบปัญหาธรรมะลึกซึ้ง หรือ ช่องตอบกลับข้างล่างนี้.