วันอังคารที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2561

อธิบาย นิสฺสรณนิทฺเทโส ใน ปฏิสัมภิทามรรค

แปลอรรถกถา:

นึ่ง นิสฺสรณะนี้นับเป็น 180 อย่างไร? อธิบายว่า – ในปฐมวาระ นิสฺสรณะนับ 25 โดยมรรคผล, นับ 40 โดยสมติกมะ, นับ 37 โดยปฏิปักข์, รวมเป็น 96, ในทุติยวาระ นิสสรณะในปฐมวาระนั่นแหละ เนื่องจากเป็นวาระของพระขีณาสพ จึงไม่นับเสีย 12 ฉะนั้นจึงเหลือ 84, รวมวาระแรก 96 กับวาระหลัง 84 นี้เข้าด้วยกัน จึงเป็น นิสสรณะ 180. 
อนึ่ง นิสสรณะ 12 ที่เอาออกไปจากทุติยวาระ เนื่องจากเป็นวาระของพระขีณาสพนั้น มีอะไรบ้าง? ได้แก่ นิสสรณะ 8 ในหัวข้อ (b) สมติกกมะ ที่ท่านว่าไว้ด้วยมรรคและผล, นิสสรณะ 4 ในหัวข้อ (c) ปฏิปักขะ ที่ท่านว่าไว้ด้วยมรรค, รวมเป็น 12 นิสสรณะที่ต้องนำออกไปในทุติยวาระ. 
ทำไม ในทุติยวาระจึงไม่นับเอานิสสรณะที่ท่านกล่าวไว้ในปฐมวาระ ทั้งที่ในทุติยวาระก็กล่าวเกี่ยวกับอรหัตตผล (ปฏิปัสสัทธินิสสรณะ)? เพราะนิสสรณะ 25 ที่กล่าวไว้ตั้งแต่แรกนั้น กล่าวด้วยอำนาจมรรคผลอยู่แล้ว, ดังนั้น นิสสรณะที่เกี่ยวกับอรหัตตผลจึงเป็นอันกล่าวไว้แล้วนั่นแหละ (ไม่ต้องกล่าวซ้ำอีก และถ้ากล่าวมันก็จะข้ามลำดับ เพราะเหตุผลคือ->) อนึ่ง ผลทั้ง 3 ข้างต้น ก็นับไม่ได้อยู่แล้ว เพราะผู้ที่ได้ผลสมาบัติสูงกว่าแล้ว ย่อมไม่มีทางเข้าผลสมาบัติที่ต่ำกว่า (ดังนั้นเมื่อตัดมรรคผลออกไป 11 แล้วเหลือ อรหัตผลไว้โดดๆ บาลีก็จะข้ามลำดับ จึงเอาอรหัตผลตรงนี้ไปรวมกับข้อ a มคฺคผล 25 เสีย). ส่วนฌานสมาปตฺติวิปสฺสนาเนกฺขมฺม เป็นต้นยังนับได้ด้วยกิริยาจิต (เพราะพระขีณาสพยังทำได้ด้วยกิริยาจิต). อินทรีย์เหล่านี้ทั้ง 5 สลัดออกไปจากปฏิปักข์แล้วนั่นแหละ เพราะความที่ปฏิปักข์ถูกทำปฏิปัสสัทธินิสสรณะไปก่อนแล้วนั่นเอง (จึงเท่ากับว่า พระอรหันต์ยังทำข้อ c อยู่ตลอดเวลาไปโดยปริยาย, ฉะนั้นข้อละปฏิปักข์จึงต้องนับด้วยในทุติยวาระ).
ทุติยสุตฺตนฺตนิทฺเทสวณฺณนา นิฏฺฐิตาฯ

อธิบายบาลี:

สุตฺต. ขุ. ปฏิสมฺภิทามคฺโค
ค. นิสฺสรณนิทฺเทโส
[191] กตเมหิ อสีติสตํ อากาเรหิ ปญฺจนฺนํ อินฺทฺริยานํ นิสฺสรณํ โหติ;
 กตเมหิ อสีติสตํ อากาเรหิ ปญฺจนฺนํ อินฺทฺริยานํ นิสฺสรณํ ปชานาติ?

<ปฐมวาโร 96 = a25+b34+c37>

(a. มคฺคผล 25)

  1. อธิโมกฺขฏฺเฐน สทฺธินฺทฺริยํ อสฺสทฺธิยา นิสฺสฏํ โหติ,
  2.  อสฺสทฺธิยปริฬาหา นิสฺสฏํ โหติ,
  3.  ตทนุวตฺตกกิเลเสหิ จ ขนฺเธหิ จ นิสฺสฏํ โหติ,
  4.  พหิทฺธา จ สพฺพนิมิตฺเตหิ นิสฺสฏํ โหติ,
  5.  ตโต ปณีตตรสทฺธินฺทฺริยสฺส ปฏิลาภา ปุริมตรสทฺธินฺทฺริยา นิสฺสฏํ โหติ;
  6. ปคฺคหฏฺเฐน วีริยินฺทฺริยํ โกสชฺชา นิสฺสฏํ โหติ,
  7.  โกสชฺชปริฬาหา นิสฺสฏํ โหติ,
  8.  ตทนุวตฺตกกิเลเสหิ จ ขนฺเธหิ จ นิสฺสฏํ โหติ,
  9.  พหิทฺธา จ สพฺพนิมิตฺเตหิ นิสฺสฏํ โหติ,
  10.  ตโต ปณีตตรวีริยินฺทฺริยสฺส ปฏิลาภา ปุริมตรวีริยินฺทฺริยา นิสฺสฏํ โหติ;
  11.  อุปฏฺฐานฏฺเฐน สตินฺทฺริยํ ปมาทา นิสฺสฏํ โหติ,
  12.  ปมาทปริฬาหา นิสฺสฏํ โหติ ,
  13.  ตทนุวตฺตกกิเลเสหิ จ ขนฺเธหิ จ นิสฺสฏํ โหติ,
  14.  พหิทฺธา จ สพฺพนิมิตฺเตหิ นิสฺสฏํ โหติ,
  15.  ตโต ปณีตตรสตินฺทฺริยสฺส ปฏิลาภา ปุริมตรสตินฺทฺริยา นิสฺสฏํ โหติ;
  16.  อวิกฺเขปฏฺเฐน สมาธินฺทฺริยํ อุทฺธจฺจา นิสฺสฏํ โหติ,
  17.  อุทฺธจฺจปริฬาหา นิสฺสฏํ โหติ,
  18.  ตทนุวตฺตกกิเลเสหิ จ ขนฺเธหิ จ นิสฺสฏํ โหติ,
  19.  พหิทฺธา จ สพฺพนิมิตฺเตหิ นิสฺสฏํ โหติ,
  20.  ตโต ปณีตตรสมาธินฺทฺริยสฺส ปฏิลาภา ปุริมตรสมาธินฺทฺริยา นิสฺสฏํ โหติ;
  21.  ทสฺสนฏฺเฐน ปญฺญินฺทฺริยํ อวิชฺชาย นิสฺสฏํ โหติ,
  22.  อวิชฺชาปริฬาหา นิสฺสฏํ โหติ,
  23.  ตทนุวตฺตกกิเลเสหิ จ ขนฺเธหิ จ นิสฺสฏํ โหติ,
  24.  พหิทฺธา จ สพฺพนิมิตฺเตหิ นิสฺสฏํ โหติ,
  25.  ตโต ปณีตตรปญฺญินฺทฺริยสฺส ปฏิลาภา ปุริมตรปญฺญินฺทฺริยา นิสฺสฏํ โหติฯ

(b. สมติกฺกม 34)

  1. [192] ปุพฺพภาเค ปญฺจหิ อินฺทฺริเยหิ ปฐมชฺฌานวเสน ปญฺจินฺทฺริยานิ นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  2.  ปฐเม ฌาเน ปญฺจหินฺทฺริเยหิ ทุติยชฺฌานวเสน ปญฺจินฺทฺริยานิ นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  3.  ทุติเย ฌาเน ปญฺจหินฺทฺริเยหิ ตติยชฺฌานวเสน ปญฺจินฺทฺริยานิ นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  4.  ตติเย ฌาเน ปญฺจหินฺทฺริเยหิ จตุตฺถชฺฌานวเสน ปญฺจินฺทฺริยานิ นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  5.  จตุตฺเถ ฌาเน ปญฺจหินฺทฺริเยหิ อากาสานญฺจายตนสมาปตฺติวเสน ปญฺจินฺทฺริยานิ นิสฺสฏานิ โหนฺติ ,
  6.  อากาสานญฺจายตนสมาปตฺติยา ปญฺจหินฺทฺริเยหิ วิญฺญาณญฺจายตนสมาปตฺติวเสน ปญฺจินฺทฺริยานิ นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  7.  วิญฺญาณญฺจายตนสมาปตฺติยา ปญฺจหินฺทฺริเยหิ อากิญฺจญฺญายตนสมาปตฺติวเสน ปญฺจินฺทฺริยานิ นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  8.  อากิญฺจญฺญายตนสมาปตฺติยา ปญฺจหินฺทฺริเยหิ เนวสญฺญานาสญฺญายตนสมาปตฺติวเสน ปญฺจินฺทฺริยานิ นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  9.  เนวสญฺญานาสญฺญายตนสมาปตฺติยา ปญฺจหินฺทฺริเยหิ อนิจฺจานุปสฺสนาวเสน ปญฺจินฺทฺริยานิ นิสฺสฏานิ โหนฺติฯ
  10. อนิจฺจานุปสฺสนา ปญฺจหินฺทฺริเยหิ ทุกฺขานุปสฺสนาวเส ปญฺจินฺทฺริยานิ นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  11.  ทุกฺขานุปสฺสนา ปญฺจหินฺทฺริเยหิ อนตฺตานุปสฺสนาวเส ปญฺจินฺทฺริยานิ นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  12.  อนตฺตานุปสฺสนา ปญฺจหินฺทฺริเยหิ นิพฺพิทานุปสฺสนาวเสน ปญฺจินฺทฺริยานิ นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  13.  นิพฺพิทานุปสฺสนาย ปญฺจหินฺทฺริเยหิ วิราคานุปสฺสนาวเสน ปญฺจินฺทฺริยานิ นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  14.  วิราคานุปสฺสนาย ปญฺจหินฺทฺริเยหิ นิโรธานุปสฺสนาวเสน ปญฺจินฺทฺริยานิ นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  15.  นิโรธานุปสฺสนาย ปญฺจหินฺทฺริเยหิ ปฏินิสฺสคฺคานุปสฺสนาวเสน ปญฺจินฺทฺริยานิ นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  16.  ปฏินิสฺสคฺคานุปสฺสนาย ปญฺจหินฺทฺริเยหิ ขยานุปสฺสนาวเสน ปญฺจินฺทฺริยานิ นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  17.  ขยานุปสฺสนาย ปญฺจหินฺทฺริเยหิ วยานุปสฺสนาวเสน ปญฺจินฺทฺริยานิ นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  18.  วยานุปสฺสนาย ปญฺจหินฺทฺริเยหิ วิปริณามานุปสฺสนาวเสน ปญฺจินฺทฺริยานิ นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  19.  วิปริณามานุปสฺสนาย ปญฺจหินฺทฺริเยหิ อนิมิตฺตานุปสฺสนาวเสน ปญฺจินฺทฺริยานิ นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  20.  อนิมิตฺตานุปสฺสนาย ปญฺจหินฺทฺริเยหิ อปฺปณิหิตานุปสฺสนาวเสน ปญฺจินฺทฺริยานิ นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  21.  อปฺปณิหิตานุปสฺสนาย ปญฺจหินฺทฺริเยหิ สุญฺญตานุปสฺสนาวเสน ปญฺจินฺทฺริยานิ นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  22. สุญฺญตานุปสฺสนาย ปญฺจหินฺทฺริเยหิ อธิปญฺญาธมฺมวิปสฺสนาวเสน ปญฺจินฺทฺริยานิ นิสฺสฏานิ โหนฺติฯ 
  23. อธิปญฺญาธมฺมวิปสฺสนาย ปญฺจหินฺทฺริเยหิ ยถาภูตญาณทสฺสนวเสน ปญฺจินฺทฺริยานิ นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  24.  ยถาภูตญาณทสฺสเน ปญฺจหินฺทฺริเยหิ อาทีนวานุปสฺสนาวเสน ปญฺจินฺทฺริยานิ นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  25.  อาทีนวานุปสฺสนาย ปญฺจหินฺทฺริเยหิ ปฏิสงฺขานุปสฺสนาวเสน ปญฺจินฺทฺริยานิ นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  26.  ปฏิสงฺขานุปสฺสนาย ปญฺจหินฺทฺริเยหิ วิวฏฺฏนานุปสฺสนาวเสน ปญฺจินฺทฺริยานิ นิสฺสฏานิ โหนฺติฯ 
  27. วิวฏฺฏนานุปสฺสนาย ปญฺจหินฺทฺริเยหิ โสตาปตฺติมคฺควเสน ปญฺจินฺทฺริยานิ นิสฺสฏานิ โหนฺติฯ
  28. โสตาปตฺติมคฺเค ปญฺจหินฺทฺริเยหิ โสตาปตฺติผลสมาปตฺติวเสน ปญฺจินฺทฺริยานิ นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  29.  โสตาปตฺติผลสมาปตฺติยา ปญฺจหินฺทฺริเยหิ สกทาคามิมคฺควเสน ปญฺจินฺทฺริยานิ นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  30.  สกทาคามิมคฺเค ปญฺจหินฺทฺริเยหิ สกทาคามิผลสมาปตฺติวเสน ปญฺจินฺทฺริยานิ นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  31.  สกทาคามิผลสมาปตฺติยา ปญฺจหินฺทฺริเยหิ อนาคามิมคฺควเสน ปญฺจินฺทฺริยานิ นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  32.  อนาคามิมคฺเค ปญฺจหินฺทฺริเยหิ อนาคามิผลสมาปตฺติวเสน ปญฺจินฺทฺริยานิ นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  33.  อนาคามิผลสมาปตฺติยา ปญฺจหินฺทฺริเยหิ อรหตฺตมคฺควเสน ปญฺจินฺทฺริยานิ นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  34.  อรหตฺตมคฺเค ปญฺจหินฺทฺริเยหิ อรหตฺตผลสมาปตฺติวเสน ปญฺจินฺทฺริยานิ นิสฺสฏานิ โหนฺติฯ (=ปฏิปสฺสทฺธิ=อรหตฺตผล ซึ่งนับเข้าในทุติยวาระ แต่เก็บไว้ไม่ได้ เพราะข้อ 27-33 นับในทุติยวาระไม่ได้ จึงต้องเอาข้อ 34 ไปรวม กับ 25 ข้อแรก ซึ่งเป็นวาระมรรคผลเหมือนกัน เพียงแต่ไม่ได้แจกเรียงตัวบุรุษ 8 เอาไว้)

(c. ปฏิปกฺข 37)

  1. เนกฺขมฺเม ปญฺจินฺทฺริยานิ กามจฺฉนฺทโต นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  2.  อพฺยาปาเท ปญฺจินฺทฺริยานิ พฺยาปาทโต นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  3.  อาโลกสญฺญาย ปญฺจินฺทฺริยานิ ถินมิทฺธโต นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  4.  อวิกฺเขเป ปญฺจินฺทฺริยานิ อุทฺธจฺจโต นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  5.  ธมฺมววตฺถาเน ปญฺจินฺทฺริยานิ วิจิกิจฺฉาย นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  6.  ญาเณ ปญฺจินฺทฺริยานิ อวิชฺชาย นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  7.  ปาโมชฺเช ปญฺจินฺทฺริยานิ อรติยา นิสฺสฏานิ โหนฺติฯ
  8. [193] ปฐเม ฌาเน ปญฺจินฺทฺริยานิ นีวรเณหิ นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  9.  ทุติเย ฌาเน ปญฺจินฺทฺริยานิ วิตกฺกวิจาเรหิ นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  10.  ตติเย ฌาเน ปญฺจินฺทฺริยานิ ปีติยา นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  11.  จตุตฺเถ ฌาเน ปญฺจินฺทฺริยานิ สุขทุกฺเขหิ นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  12.  อากาสานญฺจายตนสมาปตฺติยา ปญฺจินฺทฺริยานิ รูปสญฺญาย ปฏิฆสญฺญาย นานตฺตสญฺญาย นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  13.  วิญฺญาณญฺจายตนสมาปตฺติยา ปญฺจินฺทฺริยานิ อากาสานญฺจายตนสญฺญาย นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  14.  อากิญฺจญฺญายตนสมาปตฺติยา ปญฺจินฺทฺริยานิ วิญฺญาณญฺจายตนสญฺญาย นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  15.  เนวสญฺญานาสญฺญายตนสมาปตฺติยา ปญฺจินฺทฺริยานิ อากิญฺจญฺญายตนสญฺญาย นิสฺสฏานิ โหนฺติฯ
  16. อนิจฺจานุปสฺสนา ปญฺจินฺทฺริยานิ นิจฺจสญฺญาย นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  17.  ทุกฺขานุปสฺสนา ปญฺจินฺทฺริยานิ สุขสญฺญาย นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  18.  อนตฺตานุปสฺสนา ปญฺจินฺทฺริยานิ อตฺตสญฺญาย นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  19.  นิพฺพิทานุปสฺสนาย ปญฺจินฺทฺริยานิ นนฺทิยา นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  20.  วิราคานุปสฺสนาย ปญฺจินฺทฺริยานิ ราคโต นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  21.  นิโรธานุปสฺสนาย ปญฺจินฺทฺริยานิ สมุทยโต นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  22.  ปฏินิสฺสคฺคานุปสฺสนาย ปญฺจินฺทฺริยานิ อาทานโต นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  23.  ขยานุปสฺสนาย ปญฺจินฺทฺริยานิ ฆนสญฺญาย นิสฺสฏานิ โหนฺติ ,
  24.  วยานุปสฺสนาย ปญฺจินฺทฺริยานิ อายูหนโต นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  25.  วิปริณามานุปสฺสนาย ปญฺจินฺทฺริยานิ ธุวสญฺญาย นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  26.  อนิมิตฺตานุปสฺสนาย ปญฺจินฺทฺริยานิ นิมิตฺตโต นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  27.  อปฺปณิหิตานุปสฺสนาย ปญฺจินฺทฺริยานิ ปณิธิยา นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  28.  สุญฺญตานุปสฺสนาย ปญฺจินฺทฺริยานิ อภินิเวสโต นิสฺสฏานิ โหนฺติฯ 
  29. อธิปญฺญาธมฺมวิปสฺสนาย ปญฺจินฺทฺริยานิ สาราทานาภินิเวสโต นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  30.  ยถาภูตญาณทสฺสเน ปญฺจินฺทฺริยานิ สมฺโมหาภินิเวสโต นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  31.  อาทีนวานุปสฺสนาย ปญฺจินฺทฺริยานิ อาลยาภินิเวสโต นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  32.  ปฏิสงฺขานุปสฺสนาย ปญฺจินฺทฺริยานิ อปฺปฏิสงฺขาย นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  33.  วิวฏฺฏนานุปสฺสนาย ปญฺจินฺทฺริยานิ สญฺโญคาภินิเวสโต นิสฺสฏานิ โหนฺติฯ
  34. โสตาปตฺติมคฺเค ปญฺจินฺทฺริยานิ ทิฏฺเฐกฏฺเฐหิ กิเลเสหิ นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  35.  สกทาคามิมคฺเค ปญฺจินฺทฺริยานิ โอฬาริเกหิ กิเลเสหิ นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  36.  อนาคามิมคฺเค ปญฺจินฺทฺริยานิ อนุสหคเตหิ กิเลเสหิ นิสฺสฏานิ โหนฺติ,
  37.  อรหตฺตมคฺเค ปญฺจินฺทฺริยานิ สพฺพกิเลเสหิ นิสฺสฏานิ โหนฺติ,

<ทุติยวาโร 84 = a25+(b-[27, ..., 34])+(c-[34, ..., 37])>


  •  สพฺเพสญฺเญว ขีณาสวานํ ตตฺถ ตตฺถ ปญฺจินฺทฺริยานิ นิสฺสฏานิ เจว โหนฺติ สุนิสฺสฏานิ จ ปฏิปฺปสฺสทฺธานิ จ สุปฺปฏิปฺปสฺสทฺธานิ จ (=ปฏิปสฺสทฺธินิสฺสรณ=อรหตฺตผล)


อิเมหิ อสีติสตํ อากาเรหิ ปญฺจนฺนํ อินฺทฺริยานํ นิสฺสรณํ โหติ;
 อิเมหิ อสีติสตํ อากาเรหิ ปญฺจนฺนํ อินฺทฺริยานํ นิสฺสรณํ ปชานาติฯ
สุตฺตนฺตนิทฺเทโส ทุติโยฯ
ปฐมภาณวาโรฯ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

รับตอบปัญหาธรรมะ ตามพระไตรปิฏก อรรถกถา ฏีกา
ท่านสอบถาม/แสดงความคิดเห็น/บอกข้อบกพร่องของบทความได้ที่ facebook: ตอบปัญหาธรรมะลึกซึ้ง หรือ ช่องตอบกลับข้างล่างนี้.